ปี 2560 |
ลำดับ |
ชื่อเรื่อง |
หัวหน้าโครงการ |
View |
1 |
โครงการเครื่องอบแห้งเปลือกแห้วด้วยเทคนิคสนามไฟฟ้าร่วม
กับปั๊มความร้อน |
เอกชัย รัตนบรรลือ |
|
2 |
โครงการการศึกษาการเกิดจุดดำในแห้วและการยกระดับผลิตภัณฑ์
แห้วแปรรูปเพื่อเข้า |
เสน่ห์ บัวสนิท |
|
3 |
โครงการนวัตกรรมการเชื่อมโยงการตลาดการท่องเที่ยวนิเวศเกษตร
ชุมชนสามเรือน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
|
สุขุม คงดิษฐ์ |
|
4 |
โครงการการส่งเสริมศักยภาพการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเห็ดตับเต่าแบบ
การมีส่วนร่วมของชุมชนตำบลสามเรือน อำเภอบางปะอิน
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
วชิรญา เหลียวตระกูล |
|
5 |
โครงการสถานการณ์ความปลอดภัยอาหารประเภทผักและผลไม้
ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
เพียงฤทัย เสงี่ยมศิลป์ |
|
6 |
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรของพื้นที่ ตำบลวังยาง
อำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี |
เพียงฤทัย เสงี่ยมศิลป์ |
|
7 |
การบริหารจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานให้กับเกษตรกรชาวนาแห้ว
จังหวัดสุพรรณบุรี |
สุธาทิพย์ เลิศวิวัฒน์ชัยพร |
|
8 |
การสร้างความสามารถในการแข่งขันเชิงธุรกิจ ของวิสาหกิจชุมชน แปรรูปผลิตผลเกษตรทับน้ำ-บ้านม้า อ.บางปะหัน จ.พระนครศรีอยุธยา
|
พาขวัญ ทองรักษ์ |
|
9 |
แนวทางการออกแบบทางสัญจรร่วมเพื่อส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยว
วิถีชุมชนเกาะเกร็ด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี |
พรชัย โลหะพิริยกุล |
|
10 |
การประเมินระบบและกลไกการบริหารจัดการงานวิจัย ของหน่วยวิจัยนวัตกรรมเพื่อสังคมและชุมชน (ระยะที่ 3) |
มนตรี สังข์ทอง |
|
11 |
โครงการ เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิตหัวพันธุ์แห้วปลอดภัย ระยะที่ 2 การลดต้นทุนการผลิตโดยใช้เทคโนโลยีปุ๋ยตามค่าการวิเคราะห์ดิน
|
ฉวีวรรณ บุญเรือง |
|
12 |
การศึกษาศักยภาพชุมชนเพื่อสนับสนุนการเพิ่มมูลค่า
แหล่งท่องเที่ยววิถีชุมชนเกาะเกร็ด |
จิราณีย์ พันมูล |
|
13 |
โครงการแนวทางการพัฒนารูปแบบการจัดการตลาดสินค้าเกษตร
ปลอดภัย
แบบมีส่วนร่วม
: กรณีศึกษาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
รสสุคนธ์ แย้มทองคำ |
|
14 |
โครงการการพัฒนาระบบการจัการวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่ จ.นนทบุรี
สุพรรณบุรี และพระนครศรีอยุธยา ระยะที่ 3 |
ระวีวรรณ สุวรรณศร |
|
15 |
โครงการการพัฒนาหน่อกะลาในพื้นที่เกาะเกร็ด
เพื่อเป็นอัตลักษณ์ท้องถิ่น |
สุธิษา เละเซ็น |
|
16 |
โครงการนวัตกรรมเทคโนโลยีเพื่อปรับปรุงคุณภาพมันเทศ |
ละอองศรี ศิริเกษร |
|
17 |
|
|
|
ปี 2559 |
ลำดับ |
ชื่อเรื่อง |
หัวหน้าโครงการ |
View |
1 |
การพัฒนาเครื่องล้างหัวมันเทศโดยใช้แรงดันน้ำโดยการมีส่วนร่วม
ของชุมชน |
ฉัครพล พิมพา |
|
2 |
การจัดการองค์ความรู้เพื่อพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์อาหาร
จากมันเทศ
สู่มาตรฐานผลิตภัณฑ์ ชองชุมชนทับน้ำ
อ.บางปะหัน จ.พระนครศรีอยุธยา |
ผศ.พาขวัญ ทองรักษ์ |
|
3 |
สายโซ่อุปทานและการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับพืช
เพื่อความมั่นคงในการผลิตมันเทศของ จ.พระนครศรีอยุธยา |
ผศ.ดร.ละอองศรี ศิริเกษร |
|
4 |
การพัฒนาองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลทับน้ำเพื่อเป็นหลักสูตร
ท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต |
วันดี ศรีสวัสดิ์ |
|
5 |
การพัฒนาการวางแผนชุมชนเพื่อบูรณาการสู่แผนพัฒนาสามปีของ
องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น พื้นที่ ต.ทับน้ำ อ.บางปะหัน
จ.พระนครศรีอยุธยา |
ศิริศักดิ์ บัวชุม |
|
6 |
การสร้างการยอมรับระบบฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในการ
บริหารจัดการทรัพยากรน้ำทางการเกษตรสำหรับเกษตรกร ต.ทับน้ำ
อ.บางปะหัน จ.พระนครศรีอยุธยา |
อาคม สงเคราะห์ |
|
7 |
กระบวนการมีส่วนร่วมในการฟื้นฟูอนุรักษ์และสืบทอดประเพณี
อาบน้าคืนเพ็ญของชุมชนสามเรือน จ.พระนครศรีอยุธยา |
ดร.บุญสมหญิง พลเมืองดี |
|
8 |
การจัดการที่พักแรมในแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecolodge)
ตำบลสามเรือน อำเภอบางปะอิน จ.พระนครศรีอยุธยา |
พิมพ์พร พิมพ์สุวรรณ |
|
9 |
การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์คลองโพธิ์ ของประชน ตำบลสามเรือน
อ.บางปะอิน จ.พระนครศรีอยุธยา |
ยุพิน พูนดี |
|
10 |
การยกระดับผลิตภัณฑ์แปรรูปเห็ดตับเต่าเชิงการค้าสู่มาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์ชุมชนดยการะบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม |
วชิรญา เหลียวตระกูล |
|
11 |
แนวทางการพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวนิเวศเกษตร
อย่างมีส่วนร่วม
ของชุมชนสามเรือน จ.พระนครศรีอยุธยา |
สุขุม คงดิษฐ์ |
|
12 |
การพัฒนาแผนเพื่อการสร้างแรงจูงใจต่อการลดการใช้สารเคมี
ของชาวนาแห้ว: การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม |
ผศ.จันทร์เพ็ญ วรรณารักษ์ |
|
13 |
เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิตหัวพันธุ์แห้วปลอดภัย |
ผศ.ฉวีวรรณ บุญเรือง |
|
14 |
โครงการศึกษาสารจากธรรมชาติเพื่อทดแทนสารฟอกขาวในแห้ว |
ผศ.ชื่นสุมน ยิ้มถิน |
|
15 |
การวิเคราะห์เปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนระหว่างการปลูกข้าว
กับการปลูกแห้ว ในเขตพื้นที่ อ.ศรีประจัน จ.สุพรรณบุรี |
วราภรณ์ นาคใหม่ |
|
16 |
การศึกษาวิธีการลดการเกิดจุดดำในแห้วต้มและการใช้ประโยชน์
จากน้ำต้มแห้วและเปลือกแห้วหลังกระบวนการตัดแต่ง |
เสน่ห์ บัวสนิท |
|
17 |
การตรวจสอบข้อมูลสำคัญของแห้วสุพรรณ สำหรับการขึ้นทะเบียน
สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ของ จ.สุพรรณบุรี |
ดร.พลารัก ไชยโย |
|